

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คณะศิลปศาสตร์
สาขาวิชาจิตวิทยา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุรชัย อัศวทวีบุญ
ผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาจิตวิทยาคลินิก
ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการนักศึกษา
ศศ. 647
การศึกษา:
-
M.Sc. (Cognitive Sciences and Technologies), National Research University Higher School of Economics, Russia, 2560
-
ศศ.บ. (จิตวิทยา) (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549
ความเชี่ยวชาญ:
-
จิตวิทยาคลินิก
-
จิตวิทยาการรู้คิด
งานวิจัยที่สนใจ:
-
การวัดและประเมินทางจิตวิทยา (Psychological Assessment)
-
วิทยาการการรู้คิด (Cognitive Sciences)
-
การกระตุ้นสมอง (Brain Stimulation)
-
เศรษฐศาสตร์และการตลาดในมุมมองประสาทวิทยาศาสตร์ (Neuroeconomics and Neuromarketing)
งานตีพิมพ์:
โมนิล เตชะวชิรกุล และบุรชัย อัศวทวีบุญ (2568). ยิ่งคุยยิ่งสนิท : อิทธิพลของชุดคำถามสร้างความใกล้ชิดต่อการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 25(1).
บุรชัย อัศวทวีบุญ, วรวัชร์ ตั้งจิตรเจริญ, และสุชีรา ภัทรายุตวรรตน์ (2565). แบบทดสอบ MMPI-2-RF ฉบับภาษาไทย: การเก็บข้อมูลบรรทัดฐานและการหาค่ามาตรฐานของแบบทดสอบ MMPI-2-RF ฉบับภาษาไทย. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 67(1), 113-124.
จารุวรรณ สกุลคู และบุรชัย อัศวทวีบุญ (2564). ความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นของ NEO-Personality Inventory 3 ฉบับภาษาไทย: กรณีศึกษานำร่อง. วารสารจิตวิทยาคลินิกไทย, 52(2), 62-73.
ทระวิณ ชาลีรักษ์ตระกูล, ชลาลัย แต้ศิลปสาธิต, เกียรติศักดิ์ จังเจริญจิตต์กุล, บุรชัย อัศวทวีบุญ, และจารุวรรณ สกุลคู (2564). การเรียนรู้เกี่ยวกับชุมชนด้วยวิธีที่มีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนจิตวิทยาการให้คําปรึกษา: โครงการศึกษาในกลุ่มนักศึกษาไทย. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 9(1), 109-122.
Intarasirisawat, J., Ang, C. S., Efstratiou, C., Dickens, L., Sriburapar, N., Sharma, D., & Asawathaweeboon, B. (2020). An automated mobile game-based screening tool for patients with alcohol dependence. Proceedings of the ACM on Interactive, Mobile, Wearable and Ubiquitous Technologies, 4(3), 1-23. http://dx.doi.org/10.1145/3411837
กุลวดี ทองไพบูลย์ และบุรชัย อัศวทวีบุญ (2562). การศึกษาเปรียบเทียบผลการแปลแบบทดสอบ Rorschach ระหว่างระบบ Klopfer และระบบ Rorschach Performance Assessment System (R-PAS). วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 64(2), 139-148.
วรวัชร์ ตั้งจิตรเจริญ, บุรชัย อัศวทวีบุญ, ชลาลัย แต้ศิลปสาธิต, ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล, พนิดา ซิมาภรณ์, สาวิตรี แฮมมอนด์, ยุพิน โภคฐิติยุกต์, และสุชีรา ภัทรายุตวรรตน์ (2560). การพัฒนาแบบทดสอบ MMPI-2-RF ฉบับภาษาไทย: การแปลและการทดสอบแบบวัดซ้ำกับผู้ที่ชำนาญสองภาษา. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 62(4), 349-358.
บุรชัย อัศวทวีบุญ (2557). ภาพรวมของการใช้แบบทดสอบรอร์สชาค (Rorschach Inkblot Test) ระบบ Rorschach Performance Assessment System (R-PAS). วารสารจิตวิทยาคลินิก, 45(2), 1-9.
ธีระศักดิ์ กำบรรณารักษ์, ทิพย์สุดา เมธีพลกุล, และบุรชัย อัศวทวีบุญ (2554). การศึกษาเปรียบเทียบเชาวน์อารมณ์ EQ และเชาวน์วิริยะ AQ ของบุคลากร ในองค์กรที่ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักปรัชญาอื่นในการบริหารจัดการ. วารสารวิจัยทรัพยากรมนุษย์, 6(1), 3-20.